ข้อสอบโรงเรียนการไปรษณีย์ วิชาภาษาไทย ชุดที่ 1
Results
#1. ข้อใดมีพยัญชนะต้นที่ออกเสียงเดียวกัน
ตอบ 3. ไม้ ประสมสระไอ เป็นสระเสียงสั้น แต่เมื่อออกเสียง จะออกเป็น ม้าย ซึ่งเป็นเสียงสระ อา และมีเสียงยาว
#2. คำในข้อใดที่ออกเสียงสั้นยาวไม่ตรงตามเสียงสระ
เพราะ ฟ/ฝ ถือเป็นเสียงเดียวกัน นั่นคือ เสียง /f/ มี 2 ตัวอักษร คือ ฝ-ฟ
#3. คำในข้อใดอ่านแบบอักษรนำทุกพยางค์
อยู่ ออกเสียงแบบ อ นำ ย
ไหน ออกเสียงแบบ ห นำ น
หมัด ออกเสียงแบบ ห นำ ม
เหล็ก ออกเสียงแบบ ห นำ ล
#4. การสื่อสารอาจเกิดขึ้นได้ในบริบทที่ต่างกัน คำว่า บริบท ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงข้อใด
สถานที่ ไม่นับเป็นบริบทของการสื่อสาร จะเรียกโดยรวมว่า สภาพแวดล้อม ซึ่งจะครอบคลุมมากว่าคำว่า สถานที่ เพียงคำเดียว
#5. ข้อตกลงของที่ประชุมซึ่งต้องนำไปปฏิบัติต่อไป ใช้คำศัพท์ว่าอะไร
มติของที่ประชุม คือ ข้อตัดสินใจของที่ประชุมเพื่อให้นำไปปฏิบัติ
#6. ข้อใดไม่ใช่หลักในการเตรียมตัวก่อนการพูดต่อประชุมชน
การพูดในที่ประชุมทุกครั้ง ต้องมีการเตรียมตัวก่อนเสมอ
#7. ข้อใดคือความหมายของคุณธรรมในการสื่อสาร
คุณธรรมในการสื่อสาร ส่วนหนึ่งเกิดจากการการปลูกฝังผ่านการได้เห็น ได้ยิน และได้อ่าน
#8. การคบหากับชาวต่างประเทศเพื่อความเข้าใจอันดีต่อกันควรทำอย่างไร
การทำความเข้าใจภาษาแม่ของคู่สนทนา จะเป็นประตูสู่การเรียนรู้วัฒนธรรมของคู่สนทนาได้ดีที่สุด
#9. ผู้รับภาษาใช้ภาษาในลักษะใด
การรับสาร สามารถทำได้ 2 วิธี คือการอ่านและการฟัง (การเขียนและการพูด ถือเป็นการส่งสาร)
#10. การใช้ภาษาหมายถึงอะไร
การใช้ภาษา คือการใช้เสียง ตัวอักษร รวมทั้งการใช้สัญลักษณ์
#11. การใช้ภาษาให้ถูกระดับเกี่ยวข้องกับสิ่งใด
การใช้ภาษาแต่ละครั้ง ต้องคำนึงถึงทั้ง กาล เทศะ และตัวบุคคล ให้ครบทั้ง 3 ประการ เพื่อพิจารณาการใช้ภาษาให้เหมาะสมมากที่สุด
#12. หน่วยงานใดที่กำหนดเรื่องคำเขียนคำอ่าน
ราชบัณฑิตยสภา เป็นหน่วยงานที่ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำพจนานุกรม สารานุกรม อักขรานุกรม อนุกรมวิธาน การบัญญัติศัพท์วิชาการสาขาต่าง ๆ รวมทั้งการจัดทำพจนานุกรมศัพท์วิชาการภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย และงานวิชาการอื่น ๆ โดยเฉพาะ จึงมีหน้าที่กำหนดเรื่องคำเขียนคำอ่านด้วย
#13. คำชนิดใดที่ความหมายขึ้นอยู่กับการเขียน
คำพ้องรูป คือคำที่มีรูปเหมือนกัน ดังนั้น ความหมายต้องขึ้นอยู่กับการออกเสียง
#14. คำชนิดใดที่ความหมายขึ้นอยู่กับการออกเสียง
คำพ้องเสียง คือ คำที่อ่านออกเสียงเหมือนกัน ดังนั้น ความหมายต้องขึ้นอยู่กับการเขียน
#15. “คืนนี้เป็นคืนวันเพ็ญเดือนหงายพระจันทร์เต็มดวง” ข้อความนี้ใช้คำอย่างไร
เพราะ วันเพ็บ เดือนหงาย และพระจันทร์เต็มดวง ต่างก็เป็นคำที่มีความหมายเดียวกัน ดังนั้น การใช้คำเหล่านี้พร้อมกัน จึงถือเป็นการใช้คำฟุ่มเฟือย